GIZ และกระทรวงพลังงาน จะร่วมกันจัดการประชุม “งานสัมมนาโครงการพลังงานทดแทนชุมชน ไทย-เยอรมัน ครั้งที่ 2” ในเดือนตุลาคม 2559 ที่กรุงเทพฯ การประชุมถูกออกแบบมาเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆ ระหว่างชุมชน บริษัทด้านพลังงานทดแทนต่างๆ (RE) และผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศ เพื่อมาร่วมหารือในรูปแบบและเทคโนโลยีล่าสุดไปด้วยกัน โดยคณะทำงานที่เข้าร่วมทั้งสามกลุ่มนี้ จะมาร่วมพัฒนาความคิดอันนำไปสู่การออกแบบกลยุทธ์ต่างๆ ในการดำเนินโครงการด้านพลังงานทดแทนของชุมชนด้วย ซึ่งมุ่งเน้นด้าน พลังงานชีวภาพ พลังงานแสงอาทิตย์ โซลาร์รูฟท็อป และระบบกริดแบบผสมผสานบนเกาะ
เป้าหมายของงานสัมมนา
- สร้างและรักษาเครือข่ายในภาคพลังงานทดแทนในประเทศไทยให้ใหญ่ที่สุด
- ร่วมอภิปรายและประเมินผลรูปแบบและแนวคิดใหม่ๆ ให้แก่ชุมชนที่พัฒนาด้านพลังงานทดแทน
- นำเสนอทางออกด้านเทคโนโลยีล่าสุดสำหรับพลังงานทดแทนในชุมชน
กลุ่มเป้าหมาย
- ผู้แทนชุมชนหรือประชาชนในท้องถิ่นที่มีความสนใจในการพัฒนาโครงการพลังงานทดแทนร่วมกับพันธมิตรภาคเอกชนของไทยและเยอรมัน
- ผู้จัดหาเทคโนโลยีของไทยและเยอรมัน นักลงทุนและนักพัฒนาโครงการที่เข้าใจความท้าทายของโครงการ พลังงานทดแทนในระดับชุมชน และมีแนวโน้มที่จะพัฒนาพลังงานทดแทนชุมชนไทย-เยอรมัน
- เจ้าหน้าที่ภาครัฐของไทย ที่มีส่วนร่วมในการกำกับ ดูแลและควบคุมการพัฒนาพลังงานทดแทน
- สื่อมวลชนที่สนใจ
หลักการและกำหนดการงานสัมมนา
– กำหนดการงานสัมมนา (
ENG /
TH)
– หลักการของงานสัมมนา (
ENG /
TH)
– กำหนดการกลุ่มที่ 1: พลังงานชีวภาพ (
ENG /
TH)
– กำหนดการกลุ่มที่ 2: พลังงานแสงอาทิตย์ โซลาร์รูฟท็อป (
ENG /
TH)
– กำหนดการกลุ่มที่ 3: ระบบกริดแบบผสมผสานบนเกาะ (
ENG /
TH)
– สรุปจากกลุ่มย่อย (
ENG /
TH)
กลุ่มที่ 1: พลังงานชีวภาพ
ช่วงที่ 1: โครงสร้างองค์กรของโครงการพลังงานชีวภาพและการผลิตแบบผลิตเอง-ใช้เอง (self-consumption)
- การจัดโครงสร้างองค์กรและตัวอย่างอันหลากหลายของโครงการก๊าซชีวภาพชุมชนในประเทศเยอรมนี – แฟรงค์ ฮอฟแมน (ENG / TH)
- แบ่งปันประสบการณ์: ตัวอย่างโครงการพลังงานทดแทนชุมชนและโอกาสการผลิตแบบผลิตเอง-ใช้เอง (self-consumption)
ในประเทศไทย – ดร.พฤกษ์ อักกะรังสี (ENG&TH)
- ทางเลือก โครงสร้างการบริหารและตัวอย่างโครงการพลังงานทดแทนแบบผลิตเองใช้เอง – แฟรงค์ ฮอฟแมน (ENG / TH)
ช่วงที่ 2: แง่มุมของการพัฒนาโครงการพลังงานชีวภาพ
- แนะนาและประสบการณ์ของ GIZ ในโครงการพลังงานชีวภาพ – GIZ (ENG&TH)
- การออกใบรับรองไม้ที่ใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับโรงไฟฟ้าชีวมวล – เวอร์เนอร์ คอสแมน (ENG)
- ยุทธศาสตร์การพัฒนาอย่างยงั่ ยืนของโครงการพลังงานชีวภาพ – GIZ (ENG&TH)
- การซื้อไฟฟ้ารูปแบบการแข่งขันด้านราคา (FiT Bidding) – ประโยชน์และกระบวนการเข้าร่วม – OERC (TH)
- ศักยภาพและการพัฒนาโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพ อบต.ลำพญากลาง จ.สระบุรี (ENG&TH)
- โครงการโรงไฟฟ้าก๊าซชีวภาพบ้านเขาน้อย (ENG&TH)
กลุ่มที่ 2: พลังงานแสงอาทิตย์ โซลาร์รูฟท็อป
ช่วงที่ 1: รูปแบบธุรกิจและทางเลือกเกี่ยวกับระบบโซลาร์บนพื้นที่หลังคาหน่วยงานราชการ
- แนะนำกลุ่มโซลาร์รูฟท็อป (ENG)
- รูปแบบธุรกิจของระบบโซลาร์บนพื้นที่หลังคาหน่วยงานราชการ – GIZ (TH)
- ความท้าทายและอุปสรรคที่เกิดขึ้นกับโครงการพื้นที่หลังคาหน่วยงานราชการที่กาลังดาเนินการอยู่ – พนจ.น่าน พนจ.ภูเก็ต GIZ (ENG&TH)
ช่วงที่ 2: ระบบโซลาร์บนพื้นที่หลังคาชุมชน
แนะนำบริษัทด้านโซลาร์รูฟท็อป: BayWa r.e. / Solarworld / KACO / SMA / juwi / Conergy
กลุ่มที่ 3: ระบบกริดแบบผสมผสานบนเกาะ
ช่วงที่ 1: การแลกเปลี่ยน เรียนรู้และทางานเกี่ยวกับชุมชนต้นแบบ
- แบ่งปันประสบการณ์ I: แนะนาเกาะจิก โมเดลต้นแบบ – ณรงค์ชัย เหมสุวรรณ (TH)
- แบ่งปันประสบการณ์ II: การมีส่วนร่วมและแนวทางแก้ปัญหาด้านเทคนิคบนเกาะจิก – ดร.อุสาห์ บุญบำรุง (TH)
- รูปแบบธุรกิจและทางเลือกเกี่ยวกับระบบกริดแบบผสมผสานบนเกาะ – GIZ (ENG)
ช่วงที่ 2: การปรับใช้กับเกาะอื่น ๆ
แนะนำบริษัทด้านโซลาร์รูฟท็อป: ILF Consulting Engineers / HOPPECKE / ABO TRADING